อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
ชื่อ–นามสกุล (ภาษาไทย) ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร. ไพฑูรย์ รักเหลือ
ชื่อ–นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Asst. Prof. Dr.Paitoon Rakluea
ตำแหน่งบริหาร
หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
ตำแหน่งวิชาการ
ผู้ช่วยศาตราจารย์
คุณวุฒิการศึกษา
- วศ.ด. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
- วศ.ม. สาขาวิศวกรรมสารสนเทศ (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
- อส.บ. สาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
– วิศวกรรมโทรคมนาคม
– วิศวกรรมสื่อสารโครงข่าย
– เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวิชาที่ทำการสอน
-
- ระดับปริญญาตรี
– Microwave Engineering
– Microwave Laboratory
– Signal and Systems
– Aircraft Utility Systems
- ระดับปริญญาโท
– Advanced Wireless Communication
- ระดับปริญญาเอก
– Antenna Theory and Design
ประสบการณ์การทำงาน
- การสอน :
อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2546 – ปัจจุบัน
- การวิจัย :
โครงการวิจัย
– การพัฒนาวงจรกรองความถี่ผ่านหลายความถี่ผ่านหลายฟังก์ชั่นโหมดแรงดันโดยใช้โอทีเอ (Development Voltage-Mode Multifunction Filter using OTA)
หัวหน้าโครงการวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ
ผู้ร่วมวิจัย : นายวิโรจน์ พิราจเนนชัย
แหล่งทุน : เงินงบประมาณประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– การวิจัยและพัฒนาสายอากาศแบบฟิลม์บางที่มีนอตช์ 3 นอตช์สำหรับระบบการสื่อสารอัลตร้าไวด์แบนด์โดยใช้การป้อนสัญญาณแบบระนาบร่วม (Research and Development of Triple Band-Notched Thin-Film Antenna for Ultra-Wideband System by using CPW fed)
หัวหน้าโครงการวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.มาลียา ตั้งจิตเจษฎา
แหล่งทุน : เงินงบประมาณประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– การพัฒนาอิคลอไลเซอร์โดยใช้โพลิโนเมียลแบบเบรินสไตน์ (Development of Equalizer using Bernstein Polynomials)
หัวหน้าโครงการวิจัย : นายวิโรจน์ พิราจเนนชัย
ผู้ร่วมวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ
– การวิจัยและพัฒนาสายาอากาศฟิลม์บางอาร์เรย์แบบช่องเปิดสำหรับการสื่อสารความถี่กว้างยุคใหม่ (Research and Development of Thin-Film Slot Array Antenna for Modern Wideband Communications)
หัวหน้าโครงการวิจัย : นายชวลิต รักเหลือ
ผู้ร่วมวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ
แหล่งทุน : เงินงบประมาณประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– การวิจัยสายอากาศติดผนังสำหรับรับสัญญาณทีวีในประเทศไทย (Wall Antenna for Receiving Television Signals in Thailand)
หัวหน้าโครงการวิจัย : รองศาสตราจารย์อรลาภ แสงอรุณ
ผู้ร่วมวิจัย : รองศาสตราจารย์นภพินทุ์ อนันตรศิริชัย, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ
แหล่งทุน : เงินรายได้ประจำปี 2557 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
– การวิจัยสายอากาสช่องเปิดหลายความถี่เรโซแนนซ์ในระบบสื่อสารไร้สาย (Multi-Resonant Frequency of Slot Antenna for Wireless Communication systems)
หัวหน้าโครงการวิจัย : รองศาสตราจารย์อรลาภ แสงอรุณ
ผู้ร่วมวิจัย : รองศาสตราจารย์นภพินทุ์ อนันตรศิริชัย, ดร. ไพฑูรย์ รักเหลือ
แหล่งทุน : เงินรายได้ประจำปี 2555 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
– การวิจัยและพัฒนาสายอากาศสำหรับโครงข่ายไวไฟเมช (Research and Development Antenna for WiFi Mesh Network)
หัวหน้าโครงการวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา นาคะสุวรรณ
ผู้ร่วมวิจัย : นายไพฑูรย์ รักเหลือ
แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2552
– การวิจัยและพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายไร้สายสำหรับการจัดการความรู้ (Research and Development of Wireless LANs Security for Knowledge Management)
หัวหน้าโครงการวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา นาคะสุวรรณ
ผู้ร่วมวิจัย : นายไพฑูรย์ รักเหลือ, นายเอกรัฐ หล่อพิเชียร
แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551
ผลงานทางวิชาการ :
ผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการ (ย้อนหลัง 5 ปี)
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการระดับชาติ
1. นิสิต ภูครองตา ไพฑูรย์ รักเหลือ อิฐอารัญ ปิติมล, “การเพิ่มประสิทธิภาพของค่าปริมาณงานในระบบแลนไร้สายโดยการประยุกต์ใช้วิธีการรวมกลุ่มลิงค์,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน 2555
2. พรเทพ ทองย้อย ธนะพงศ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ไพฑูรย์ รักเหลือ วิโรจน์ พิราจเนนชัย, “สายอากาศไมโครสตริปแบบไมล่าฟิลม์ช่องสี่เหลี่ยมมุมโค้งสำหรับระบบอัลตร้าไวด์แบนด์,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน 2555
3. อนุชา มาละใจวันเฉลิม ชั้นวัฒนพงศ์ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “สายอากาศไมโครสตริปแถวลำดับแบบช่องเปิดมุมฉากสำหรับความถี่แถบกว้าง,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน 2555
4. กิตติศักดิ์ ทองดา วิโรจน์ พิราจเนนชัย ไพฑูรย์ รักเหลือ, “สายอากาศช่องเปิดแบบมุมฉากที่มีการแผ่พลังงานสองทิศทาง,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน 2555
5. เกรียงศักดิ์ เหลือประเสริฐ วันเฉลิม ชั้นวัฒนพงศ์ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การออกแบบหุ่นยนต์แมงมุมเพื่อการสำรวจและสอดแนม,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน 2555
6. นิสิต ภูครองตา วิโรจน์ พิราจเนนชัย ไพฑูรย์ รักเหลือ อิฐอารัญ ปิติพล, “การประยุกต์ใช้วิธีการรวมกลุ่มลิงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของค่าปริมาณงานในระบบแลนไร้สาย” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 36 EECON-35, นครนายก, 12-14 ธันวาคม 2555
7. ยศธน เหลือภากร ไพฑูรย์ รักเหลือและฉัตรชัย ศุภพิทักษ์สกุล,“การศึกษาโครงข่ายประสาทแบบป้อนไปหน้าสำหรับการจำแนกโรคระบบทางเดินหายใจ”, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 36 (EECON-36), กาญจนบุรี, 11 – 13 ธ.ค. 2556
8. เศวต บุญผ่องใส และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การจำลองและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ LTE-Advanced ด้วย โปรแกรม Advanced Design System (ADS),” การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 6 (EENET 2014), กระบี่, 26-28 มีนาคม 2557
9. ไชยวัฒน์ พูลเงิน และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การวิเคราะห์ขนาดเวกเตอร์ความผิดพลาดเมื่อมีสัญญาณรบกวนในระบบการส่งของไวแมกซ์แบบประจำที่,” การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 6 (EENET 2014), กระบี่, 26-28 มีนาคม 2557
10. บุญฤทธิ์ คุ้มเขต และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “สายอากาศดิจิตอลทีวีรูปแบบล๊อกพิริออดิค,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 7 (ECTI-CARD 2015), ตรัง, 8-10 กรกฏาคม 2558
11. PEUV POCH และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “สายอากาศ MIMO แบบกะทัดรัด สำหรับระบบUWB,”การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 7 (ECTI-CARD 2015), ตรัง, 8-10 กรกฏาคม 2558
12. ธนะพงศ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา และ ไพฑูรย์ รักเหลือ,“เครื่องบรรจุภัณฑ์กึ่งอัตโนมัติ,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 7 (ECTI-CARD 2015), ตรัง, 8-10 กรกฏาคม 2558
13. Peuv Poch และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “ สายอากาศขนาดกะทัดรัดแบบวงแหวนสองพอร์ตสำหรับประยุกต์ใช้กับระบบ MIMO-UWB” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 38 EECON-38, อยุธยา, 18-20 พฤศจิกายน 2558
14. ขวัญหทัย โพธิ์แจ้ง และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “ การออกแบบสายอากาศล๊อคพิริออดิกสำหรับระบบ WLAN/HSPA/LTE/UWB,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559
15. ชวลิต รักเหลือ และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “สายอากาศไมโครสตริปเฟสอาร์เรย์แบบปรับเลือกลำคลื่นสำหรับระบบสื่อสารไร้สาย,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559
16. ธนะพงศ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “ระบบมอนิเตอรสถานะทีจอดรถยนต์โดยใช้อาดูโนแอนดรอยด์,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559
17. นิสิต ภูครองตา และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การรวมกลุ่มลิ้งค์ของวายฟาย สำหรับ IEEE 802.11n,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559
18. ทินวัฒน์ จังจริง และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การพัฒนาฐานข้อมูลดาวเทียมโดยใช้โปรแกรม LabVIEW,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559
19. บุญฤทธิ์ คุ้มเขต และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “ระบบรักษาความปลอดภัยเครือข่ายไร้สายโดยใช้ฮันนี่พ๊อต,”การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ
1. Maleeya Tangitjetsada, Paitoon Rakluea, and C. Benjangprasert, “Study of Compact Thin-Film UWB Antenna with Dual Band-Notched Characteristics”, Progress In Electromagnetics Research Symposium 2012 ( PIERS2012 ), Kuala Lumpur, Malaysia, 27-30 Mar 2012
2. P. Thongyoy, P. Rakluea ,and T. Nopavong na Ayudathaya, “Compact Thin-Film UWB Antenna with Round Conner Rectangular Slot and Partial Circular Patch,” ECTI-CON 2012, Phetchaburi, Thailand, 16-18 May 2012
3. A. Malajai, W. Chanwanttanapong, and P. Rakluea, “A Novel Thin-Film Wideband Right Angle Slot Antenna,” ECTI-CON 2012,Phetchaburi, Thailand, 16-18 May 2012
4. K. Thongda, V. Pirajnanchai, and P. Rakluea, “A Novel Thin-Film Slot Antenna for Wireless Sensor Network IEEE802.11 b/g,” Thailand-Japan Microwave 2012(TJMW2012), Bangkok, Thailand, 7-10 Aug 2012
5. H. Kriangsak, W. Norakamon, R. Paitoon, and P. Virote, “Design of 3-Way Crossover Network by using Bernstein Polynomial,” International Science, SocialScience, Engineering and Energy Conference (I-SEEC2013), Kanchanaburi, Thailand, 18-20 Dec, 2013
6. Y. Luangphakorn, P.Rakluea, and C. Supapitiksakul, “A Training Algorithm of Feed-Forward Neural Networks for Classification of Respiratory Tract Diseases,” International Science, Social Science, Engineering and Energy Conference (I-SEEC2013), Kanchanaburi, Thailand, 18-20 Dec 2013
7. S. Boonpongsai, and P. Rakluea, “LTE-Advanced Performance Analysis by Simulation with Advanced Design System (ADS),” International Science, SocialScience, Engineering and Energy Conference (I-SEEC2013), Kanchanaburi,Thailand, 18-20 Dec 2013
8. H. Kriangsak, W. Norakamon, R. Paitoon, and P. Virote, “Design of 4-Way Crossover Network by using Bernstein Polynomial,” 2014 International Electrical Engineering Congress (iEECON2014), Pattaya, Thailand, 19-21 Mar 2014
9. Tuanjai Archevapanich, Mayuree Lertwatechakul, Paitoon Rakluea, Noppin Anantrasirichai, and Vanvisa Chutchavong, “Ultra-Wideband Slot Antenna on Flexible Substrate for WLAN/WiMAX/UWB Applications,” The 14th Asia Simulation Conference & The 33rd JSST Annual Conference: International Conference on Simulation Technology, October 26 – 31, 2014, Kitakyushu, Japan
10. Tuanjai Archevapanich, Paitoon Rakluea, Noppin Anantrasirichai,Boonchana Purahong, and Vanvisa Chutchavong, “Rectangular Slot Antenna with Asymmetrical Conductor Strip for Bandwidth Enhancement Coverage UWB Standard,” The 14th Asia Simulation Conference & The 33rd JSST Annual Conference: International Conference on Simulation Technology, October 26 – 31, 2014, Kitakyushu, Japan
11. R. Paitoon, R. Chawalit, P. Poch, S. Ornlarp, and A. Noppin, “Study on CPW-Antenna for Wideband Coverage Mobile 4G/WLAN/WiMAX/UWB,” The 7th International Conference on International Technology and Electrical Engineering (ICITEE2015), October 29-30, 2015, Chiangmai, Thailand
12. P. Poch, and R. Paitoon, “Development of Circular Ring Antenna for Mobile Broadband System,” The 7th International Conference on International Technology and Electrical Engineering (ICITEE2015), October 29-30, 2015, Chiangmai, Thailand
13. Teerachai Ranadkaew and Paitoon Rakluea, “A Compact Moon Shaped Super-Wideband Thin-Film Antenna,” ECTI-CON 2016,Chiangmai, Thailand, 28 June -1 July 2016
14. Virote Pirajnanchai and Paitoon Rakluea, “Design of Equalizer based on Bernstein Polynomials under Echo Pairs,” ITC-CSCC 2016, Okinawa, Japan, 10 – 13 July, 2016
15. Paitoon Rakluea and Maleeya Tangjitjetsada, “Triple Band-Notched Thin Film Ultra-Wideband Antenna fed by CPW,” ITC-CSCC 2016, Okinawa, Japan, 10 – 13 July, 2016
16. Ukrit Kornkanok, Paitoon Rakluea, Virote Pirajnanchai, and Supachai Klungtong, “Electronically Tunable Multiple-Input Single-Output Voltage-Mode Multifunction Filter Using OTA and DURC,” ITC-CSCC 2016, Okinawa, Japan, 10 – 13 July, 2016
17. Chawalit Rakluea and Paitoon Rakluea, “A Wideband Thin Film Slot Array Antenna Using Mylar Polyester,” ITC-CSCC 2016, Okinawa, Japan, 10 – 13 July, 2016
วารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ
1. S. Klungtong, V.Pirajnanchai, P. Rakluea, and K. Janchitrapongvej, “Voltage-Mode Universal Biquadratic Filters Using OTA-URC”, International Journal of Computer and Electrical Engineering (IJCEE), Vol. 4, No. 4, August 2012
2. M. Tangjitjetsada, P. Rakluea, N. Anantrasirichai, C. Benjangkaprasert, and T. Wakabayashi, “CPW-fed Compact Thin-Film UWB Antenna with Dual Band-Notched Characteristics,” IEEJ Transactions on Electrical and Electronic Engineering 2014; p.421-426.
3. A. Pomsathit, P. Rakluea, N. Anantrasirichai, C. Benjangkaprasert, and T.Wakabayashi, “The Design of Linear and Circular Polarization for Dual Band Microstrip Slot Antenna,” IEEJ Transactions on Electrical and Electronic Engineering 2014; p.105-112.
เอกสารประกอบการสอนวิชา
วิชาคณิตศาสตร์วิศวกรรมประยุกต์ ปี 2557 แต่งโดย ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ
ความรู้ความสามารถ
- งานบริการวิชาการ
– วิทยากรและคณะกรรมการ“โครงการค่ายความรู้วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร”ระหว่างปี พ.ศ.2551-2554
– วิทยากรและคณะกรรมการ“โครงการพัฒนาพื้นฐานการสร้างหุ่นยนต์” ระหว่างปี พ.ศ.2551-2553
– วิทยากรและคณะกรรมการ “โครงการออกแบบสายอากาศสำหรับโครงข่ายไวไฟเมช”ปี พ.ศ.2553
– วิทยากรและคณะกรรมการ “โครงการต้นกล้าอาชีพ”ปี พ.ศ.2553
– คณะกรรมการจัดงานการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 29 EECON-29 ปี พ.ศ. 2549
– คณะกรรมการจัดงาน การประชุมวิชาการทางออปติกส์และการประยุกต์ใช้งานแห่งชาติ ครั้งที่ 6 (The Six National Conference on Optics and Applications: NCOA-6) ปี 2554
– ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 29 ปี พ.ศ. 2549 และครั้งที่ 34-38 ปี พ.ศ. 2554-2558
– คณะกรรมการหลักสูตรปริญญาโท ปี พ.ศ. 2554 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– คณะกรรมการจัดงาน การประชุมวิชาการงานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 4 ECTI-CARD2012 ปี 2555
– คณะกรรมการดำเนินการจัดทำร่างโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กับ มหาวิทยาลัยโตไก ประเทศญี่ปุ่น
– คณะกรรมการดำเนินการจัดทำร่างโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
– คณะอนุกรรมการโครงการพัฒนากำลังคนด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน โดยทำความร่วมมือกับ สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไทย สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย สมาคมสมองกลฝังตัว และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
– เป็นคณะกรรมการดำเนินการจัดทำร่างโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม มทร.ธัญบุรี กับ บริษัท ไมโครชิพ เทคโนโลยี (ไทยแลนด์) จำกัด
– คณะอนุกรรมการเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรวิจัยภาคอุดมศึกษาไปทำงานในภาคอุตสาหกรรมด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาของภาควิชาฯ ประจำปีการศึกษา 2555-ปัจจุบัน
– เข้าร่วมอบรมเรื่อง โครงการพัฒนาบุคลากรทางวิศวกรรมศาสตร์ CDIO จาก Temasek Foundation ร่วมกับ Singapore Polytechnic International (SPI)
– วิทยากรโครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์
– คณะกรรมการอนุกรรมการดำเนินงานขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ด้านรวบรวมข้อมูลและกำหนดกลยุทธ์
– ผู้เชียวชาญในการประเมินโครงการวิจัยเริ่มใหม่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงกลาโหม
– คณะกรรมการงานวิเทศสัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– วิทยากรโครงการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารการเปลี่ยนแปลงระดับกลาง นบร. รุ่นที่ 20 และ 21ให้กับผู้บริหารระดับกลางของ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน
– คณะกรรมการกำหนดกรอบงานการปรับปรุงแผนแม่บทระบบสารสนเทศ (ICT) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– คณะกรรมการสอบและประเมินผลวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– คณะกรรมการสอบและประเมินผลวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
– วิทยากร โครงการสัมมนา “การประยุกต์และการออกแบบระบบใช้งานข้อมูลคอมพิวเตอร์” คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
– ผู้ทรงคุณวุฒิ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมท้องถิ่น (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางและตะวันออก) จัดโดยสำนักงานส่งเสริมวิสาหะกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
– อาจารย์ประจำหลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความทางวิชาการ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– วิทยากร “หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานด้านไฟฟ้าสื่อสารระดับต้น” โรงเรียนการสื่อสารกรมการปกครอง วิทยาลัยการปกครอง อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ปี 2558
– ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 39 ปี พ.ศ. 2559
- รางวัล / ประกาศนียบัตร/ เกียรติบัตร / สัมมนาดูงานต่างประเทศ
– ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้น จัตุรถากรณ์ช้างเผือก ประจำปี 2554
– รางวัลข้าราชการดีเด่นประจำปี 2553 กลุ่ม 2 ระดับ 1-5 / พนักงานมหาวิทยาลัย / พนักงานราชการ ลำดับที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
– ประกาศนียบัตร Poster Award ผลงานเรื่อง “A Dual Band Microstrip-Fed Right Angle Slot Antenna” การประชุมวิชาการ JSST 2009, JAPAN, October 7-9, 2009
– ประกาศนียบัตรสำหรับการนำเสนอผลงานวิชาการภาคบรรยาย การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาครั้งที่ 2 เรื่อง “บทบาทของมหาวิทยาลัยต่อการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติจริง” จัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 23-29 สิงหาคม 2552 จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
– Certificate of Training เรื่อง “Intensive Short Course Training on Satellite Engineering” จัดโดย Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (GISTDA) of Thailand ระหว่างวันที่ 16 – 27 มิถุนายน 2003, กรุงเทพ, ประเทศไทย
– Certificate of Training เรื่อง “Quick Start to ADS” จัดโดย บริษัท Dream Catcher ระหว่างวันที่ 29 มี.ค – 30 มี.ค. 2010, ปีนัง, ประเทศมาเลเซีย
– Certificate of Training เรื่อง “RF Circuit Design – Active Circuits” จัดโดย บริษัท Dream Catcher ระหว่างวันที่ 31 มี.ค – 2 เม.ย. 2010, ปีนัง, ประเทศมาเลเซีย
– Certificate of Training เรื่อง “Essential of DSP – Concept to implementation using MATLAB and Altera DE2” จัดโดย บริษัท Dream Catcher ระหว่างวันที่ 31 พ.ค.– 3 มิ.ย. 2011, ปีนัง, ประเทศมาเลเซีย
– เกียรติบัตรการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ส่งเสริมการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนเอกชนนอกระบบปี 2553” รุ่นที่ 2 ของสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ระหว่างวันที่ 21 – 22 เมษายน 2553 ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
– เข้าร่วมสัมมนาและศึกษาดูงานด้านวิศวกรรม NIWEEK 2007 ณ เมืองออสติน ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 5 – 12 เมษายน 2550
– เข้าร่วมสัมมนาและศึกษาดูงานด้านวิศวกรรม NIWEEK 2010 ณ เมืองออสติน ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 2 – 8สิงหาคม2553
– เข้าร่วมสัมมนาและศึกษาดูงานด้านวิศวกรรมDesignCon 2012 และ Photonic West 2012 ณ เมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 25 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2555
– อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาทีม TELEBOT # 12 เข้าร่วมแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโครงการแข่งขัน ซีอาร์ยู โรบอทเกมส์ ระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 29-30 สิงหาคม 2555 โดยได้ผลงานลำดับที่ 4
– เข้าร่วมอบรมและศึกษาดูงาน “Invitation letter to Agilent Singapore for Advance Technology and Testing Equipment” ณ บริษัท Agilent Technology ประเทศสิงค์โปร์ ระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน 2555
– บทความดีเด่น “สายอากาศไมโครสตริปแบบไมล่าฟิลม์ช่องสี่เหลี่ยมมุมโค้งสำหรับระบบ อัลตร้าไวด์แบนด์,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, 21-22 มิถุนายน 2555
ผลงานการควบคุมวิทยานิพนธ์ที่สำเร็จการศึกษา
1. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศไมโครสตริปรูปวงกลมแบบไมโมสำหรับระบบอัลตราไวด์แบนด์
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) MIMO CIRCULAR SHAPED MICROSTRIP ANTENNA FOR ULTRA-WIDEBAND SYSTEMS
ชื่อนักศึกษา Mr.Poch Peuv
ปีที่สำเร็จ 2558
2. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) วงจรกรองความถี่ผ่านทุกแถบความถี่ของโหมดกระแสโดยใช้ซีดีทีเอและยูนิฟอร์มดิสทริบิวด์อาร์ซี
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ)Current Mode of All Pass Filter Using CDTA and Uniform Distributed RC
ชื่อนักศึกษา นางสาวอัตติยา ขวัญพราย
ปีที่สำเร็จ 2557
3. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) การศึกษาแบบรูปการแผ่พลังงานของสายอากาศช่องเปิดแถวลำดับรูปตัวแอลแบบฟิลม์บาง
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Study on radiation pattern of right angle thin-film slot array antenna
ชื่อนักศึกษา นายกิตติศักดิ์ ทองดา
ปีที่สำเร็จ 2555
4. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศฟิล์มบางขนาดกะทัดรัดรูปคล้ายอักษรซีสำหรับเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สาย
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Compact thin-film antenna with C-Shape for BWA technologies
ชื่อนักศึกษา นายพรเทพ ทองย้อย
ปีที่สำเร็จ 2555
5. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) การออกแบบสายอากาศแถวลำดับแบบช่องเปิดมุมฉากที่มีแถบกว้าง
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Design of broadband right-angle slot array antenna
ชื่อนักศึกษา นายอนุชา มาละใจ
ปีที่สำเร็จ 2555
6. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) การศึกษาการรวมกลุ่มลิงค์ของวายฟาย สำหรับ IEEE 802.11n
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Study on the aggregation of Wi-Fi Links for IEEE 802.11n
ชื่อนักศึกษานายนิสิต ภูครองตา
ปีที่สำเร็จ 2555
7. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศช่องเปิดแบบมุมฉากสำหรับเครือข่ายไร้สายแบบเมช
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Right Angel Slot Antenna for Wireless Mesh Network
ชื่อนักศึกษา นายทินวัฒน์ จังจริง
ปีที่สำเร็จ 2554
8. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศไมโครสตริปแบบไมล่าฟิล์มสำหรับระบบอัลตร้าไวด์แบนด์
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Mylar Film Microstrip Antenna for UWB Systems
ชื่อนักศึกษา นายบุญฤทธิ์ คุ้มเขต
ปีที่สำเร็จ 2554
9. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศแพทช์ย่านความถี่แถบคู่ที่ป้อนด้วยสายนำสัญญาณแบบระนาบร่วม
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) CPW- Fed Patch Antenna for Dual Band
ชื่อนักศึกษา นายสุภณ พลสิงห์
ปีที่สำเร็จ 2554
10. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศหลายความถี่แบบโมโนโพลรูปหกเหลี่ยมสำหรับระบบ Wi-Fi/WiMAX
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Multiband Hexagon Shaped Monopole Antenna for Wi-Fi/ WiMAX Systems
ชื่อนักศึกษา นายทิวากร สมวรรณ
ปีที่สำเร็จ 2554
11. ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) วงจรกรองความถี่หลายหน้าที่โหมดแรงดันโดยใช้วงจรขยายความนำถ่ายโอนและยูนิฟอร์มดิสทริบิวด์อาร์ซี
ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Voltage-Mode Universal Biquadratic Filter using Operational Transconductance Amplifier and Uniform Distributed RC
ชื่อนักศึกษา นายศุภชัย คลังทอง
ปีที่สำเร็จ 2554
สถานที่ติดต่อ ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
โทรศัพท์ 0-2549-4620 โทรสาร. 0-2549-4622
E-mail : paitoon_r@rmutt.ac.th , paitoon.r@en.rmutt.ac.th